[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย
เมนูหลัก
หน่วยงานในวิทยาลัย
ข้อมูลพื้นฐานวิทยาลัย
งานนโยบายและแผนฯ
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 84 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
หน่วยงานต่างๆ
poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก



 

  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
ส่องวิสัยทัศน์ ‘ผศ.ดร.ชาคริต โชติอมรศักด์’ ผู้คิดแอปฯ FireD จัดการเชื้อเพลิง แก้ปัญหา PM 2.5  VIEW : 363    
โดย ส้ม

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 124
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 8
Exp : 100%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 49.228.239.xxx

 
เมื่อ : จันทร์ ที่ 18 เดือน เมษายน พ.ศ.2565 เวลา 18:49:58    ปักหมุดและแบ่งปัน

ผศ.ดร.ชาคริต โชติอมรศักด์” หัวหน้าศูนย์ภูมิภาคศึกษาด้านภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้คิดค้น “แอปพลิเคชัน “FireD (ไฟดี)” ที่มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการเชื้อเพลิงอย่างเป็นระบบ และเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาฝุ่นควัน PM 2.5 ในภาคเหนืออย่างน่าสนใจยิ่ง เนื่องจากการลักลอบเผาลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

‘ผู้จัดการออนไลน์’ สัปดาห์นี้ จึงสัมภาษณ์พิเศษ “ผศ.ดร.ชาคริต โชติอมรศักด์” หัวหน้าศูนย์ภูมิภาคศึกษาด้านภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้คิดค้น “แอปพลิเคชัน “FireD (ไฟดี)” ที่สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาของการจัดการเชื้อเพลิง หรือการที่ชาวบ้านจำเป็นต้องเผาพื้นที่เกษตรของตนได้อย่างเป็นระบบ ว่ามีความจำเป็นอย่างไร และช่วยแก้ปัญหาในช่องโหว่เหล่านี้ได้อย่างไร 

การทำงานอย่างบูรณาการกับทุกภาคส่วน การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านอุตุนิยมวิทยา การวิเคราะห์สภาพอากาศ ขั้นตอนการกรอกข้อมูลในระบบ “แอปพลิเคชัน “FireD (ไฟดี)” และข้อมูลคำร้องที่ปรากฏอยู่ในระบบ ล้วนสามารถนำไปสู่การวิเคราะห์ ประเมิน ผ่านปัจจัยทางสภาพอากาศ ดัชนีการระบายอากาศ และปัจจัยต่างๆ ว่าจะสามารถทำการจัดการเผาหรือกำจัดเชื้อเพลิงในวันนั้นๆ ได้หรือไม่ หากสภาพอากาศปิด และยังคงมีฝุ่นควัน PM 2.5 ในปริมาณมาก ก็ต้องเลื่อนการกำจัดเชื้อเพลิงไปก่อน 
แต่หากทุกปัจจัยพร้อมต่อการกำจัดเชื้อเพลิงได้ ชาวบ้านที่ยื่นคำร้องมาและได้รับการอนุมัติ ก็สามารถเผาหรือกำจัดเชื้อเพลิงได้ หรือที่เรียกได้ว่าการ ‘พึ่งพาไฟ’

ด้วยการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ จากทุกภาคส่วน รวมทั้ง สภาลมหายใจเชียงใหม่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ล้วนมีส่วนให้เกิดระบบพยากรณ์ทั้งฝุ่น PM 2.5 และอุตุนิยมวิทยา ซึ่งล้วนทำงานอย่างสอดคล้อง เป็นองค์รวม และสนับสนุนการทำงานของ “แอปพลิเคชัน “FireD (ไฟดี)” ในการวิเคราะห์และประเมินสภาพการณ์ต่างๆ ว่าควรพึ่งพาไฟ ตามที่มีผู้ร้องขอมาหรือไม่


mylinkinvitation.com




วิทยาลัยเทคโนโลยีโซ่พิสัย
237 หมุู่ 8 ต.คำแก้ว อ.โซ่พิสัย จ.บึงกาฬ 38170 โทรศัพท์ 042-086002 โทรสาร 042-086002